คำค้นยอดฮิต:
ข้าวเหนียวมะม่วง
ของขวัญออแกนิค
ผลไม้สด
TH
|
EN
0
0
เข้าสู่ระบบ
฿
0.00
สินค้าเกษตรออนไลน์
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ปฏิทินงานแสดงสินค้า
แหล่งผลิตสินค้าเกษตร
ตลาดชุมชน ตลาดต้องชม
แฟรนไชส์
ลงทะเบียนขาย
สินค้าเกษตรออนไลน์
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ปฏิทินงานแสดงสินค้า
แหล่งผลิตสินค้าเกษตร
ตลาดชุมชน ตลาดต้องชม
แฟรนไชส์
ลงทะเบียนขาย
เกษตรปลอดสารบ้านกระถิน
เกษตรปลอดสารบ้านกระถิน ตำบลสิบเอ็ดศอก อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ข้อมูลติดต่อ
แจ้งแก้ไขข้อมูล
แชร์ :
Favorite
(0)
Like
แสดงทั้ง 5 รูป
สภาพอากาศวันนี้
อยู่ในเวลาปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
ดูแผนที่ / นำทาง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีชุมชนตำบลสิบเอ็ดศอก แหล่งองค์ความรู้ สามารถเข้ามาศึกษาดูงาน เรียนรู้ลงมือปฏิบัติ ตามรอยเท้าพ่อ
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
เขียนรีวิว
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
สวนเจริญกิจ
ปัจจุบันมีสวนเนื้อที่ 11 ไร่ ที่ทำไปแล้ว 7 ไร่ ในสวนจะมีหม่อน แบล็คเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ มะนาวโห่ ส่วนของหม่อนนี้มีทั้งหมด 15 สายพันธุ์ พันธุ์หลักๆ ก็คือกําแพงแสน เป็นเกษตรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer จังหวัดระยอง
ระยอง
น้ำตกผาแดง
น้ำตกผาแดง มีสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง คือ จุดชมวิวเนินสววรค์ อุโมงค์ถ้ำ 3 มิติ และน้ำตกสะพานลาว
กาญจนบุรี
สุธีรา ฟาร์มปูนา บ้านไร่อุดม
เลี้ยงปูนาสร้างรายได้ ส่งขายในประเทศ-ต่างประเทศ เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้และอนุรักษ์ขยายพันธุ์ รวมทั้งแปรรูปปูนาไทย แหล่งเรียนรู้ส่งเสริมอาชีพเกษตรกร
กำแพงเพชร
ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน Smile Lemon#1
ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน
ฉะเชิงเทรา
วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ
วิสากิจชุมชนผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ นโยบายที่จะพัฒนาวิสาหกิจชุมชนฯก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาตาม ข้อบังคับ ระเบียบ กฎหมาย วิสาหกิจชุมชนฯ ประกาศของนายทะเบียน โดยจะคำนึงถึงสมาชิก และวิสาหกิจชุมชนฯเป็นหลัก ด้านการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ▪ พัฒนาคุณภาพ เกษตรกร พนักงาน กรรมการ และสมาชิก สู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ▪ สร้างความเข้มแข็งของหมู่มวลสมาชิก ฝ่ายบริหารให้มีรากฐานที่มั่นคง ▪ พัฒนาองค์กรให้ดูสวยงาม มีสง่า สะดวกสบายแก่สมาชิกที่มารับบริการ ▪ ปรับโครงสร้างการบริหารภายในให้สมดุลและยั่งยืน ให้ความสำคัญกับการปรับโครงสร้าง ▪ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของฝ่ายจัดการ และการให้บริการแก่มวลสมาชิกโดยการบริหารจัดการที่ดี การสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีด้วย ▪ เสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนฯสร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายอย่างยั่งยืน ด้านการบริการสมาชิก • พัฒนาระบบโซเชียลมีเดีย และสื่อสังคมออนไลน์ ด้านการประชาสัมพันธ์ การตลาดและการขาย • พัฒนาข้อมูลสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ และสื่อถึงสมาชิกอย่างรวดเร็ว ทั่วถึง • เพิ่มพูนทักษะให้เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้ม แจ่มใส สะดวก รวดเร็ว ประทับใจ พัฒนาระบบสวัสดิการให้แก่สมาชิกอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง • จัดทำประกันชีวิตกลุ่มสำหรับสมาชิกที่เป็นหนี้และไม่เป็นหนี้แต่สมัคร • เพื่อสร้างหลักประกันให้แก่สมาชิกและครอบครัว • ดำเนินการสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์เพื่อให้เป็นสวัสดิการสมาชิก
ชัยภูมิ
ไร่ภัทราวรินทร์ คาเฟ่&แคมป์
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่พัก อาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร มีสวนสตรอเบอร์รี่ให้นักท่องเที่ยวได้ มีการจัดกิจกรรมท่องเที่ยงให้นักท่องเที่ยวได้เลือก ห้องพักคืนละ 1000 ห้องพัดลม มีชุดอาหารเช้าข้าวเหนียว + หมู + แจ่วอีสาน คนละ 100 บาท สตรอเบอร์รี่ กิโลละ 300 บาท
ขอนแก่น
ท่องเที่ยววิถีเกษตร บ้านน้อยในป่าใหญ่ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
บ้านน้อยในป่าใหญ่ ศูนย์เรียนรู้วิถีเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งก่อตั้งโดยเกษตรกรรุ่นใหม่ไฟแรงที่ต้องการจะถ่ายทอดการทำการเกษตรแบบพอเพียง ใช้บ้านและสวนเป็นแหล่งให้คนภายนอกได้มาเรียนรู้
ชุมพร
ฟาร์มโคนม ไทย-เดนมาร์ค
ฟาร์มโคนม ไทย-เดนมาร์ค เป็นฟาร์มเลี้ยงโคนม ที่มีการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่แรกๆ ของเมืองไทย พิกัด : https://goo.gl/maps/q9b524yJcqMwBAx88
สระบุรี
โครงการหลวงแม่ลาน้อย
เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่ยังคงมีความเป็นธรรมชาติ และบริสุทธิ์ อบอุ่นไปด้วยวิถีชีวิตที่งดงามของชาวเขา ในช่วงเดือน ก.ย.-ต.ค. ซึ่งป็นฤดูทำนาข้าว นักท่องเที่ยวจะได้ชม
แม่ฮ่องสอน
“ท่องเที่ยววิถีเกษตร ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
สวนปาหนัน
สวนปาหนัน มีผลไม้ปลูกมากมายหลากหลายชนิดที่นี่ปลูกทั้งเงาะ มังคุด ลองกอง ทุเรียน โดยค่าใช้จ่ายในการมาเที่ยวสวนปาหนันช่วงเดือน พ.ค. - มิ.ย. ซึ่งเป็นช่วงที่มีผลไม้เต็มสวน จากนี้ที่นี่ยังมีบริการที่พักในสวนผลไม้ด้ว
ระยอง
ไร่เมล๋อนชากังราว
ทุ่งดอกไม้แห่งใหม่ที่สวยงามไม่แพ้กับที่จังหวัดเชียงใหม่เลย ที่ไร่เมล๋อน ชากังราวจังหวัดกำแพงเพชรสวนดอกไม้เปิดใหม่ที่ตำบลเขาคีรีส อำเภอพรานกระต่าย ซึ่งกำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจากนักท่องเที่ยว
กำแพงเพชร
MOC Agri mart ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานของคุณ
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ