คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
จุดชมวิวเนินสวรรค์ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์
จุดชมวิวเนินสวรรค์ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ หมู่2 ตำบลสหกรณ์นิคม อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
เปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
จุดชมวิวเนินสวรรค์ เป็นบริเวรที่ตั้งสำนักงานและแปรรูปเหมืองตะกั่ว ที่ส่งไปขายยังต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันเหมืองแร่ดังกล่าวหมดสัมปทานไปแล้ว เป็นเวลากว่าสิบปี ปัจจุบันเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ ได้ตั้งเป็นจุดตรวจสกัด และดูแลบริเวณสำนักงานเหมืองเก่า ที่ตั้งจุดตรวจนี้ เป็นพื้นที่สูงสามารถมองเห็นพื้นที่ด้านล่างได้สวยงาม หน้าหนาวจะมองเห็นเป็นทะเลหมอกในพื้นที่หมู่ที่ ๒ ทั้งหมู่บ้าน ช่วงกลางวันจะมองเห็นหมู่บ้านป่าไม้สะพานลาวที่สวยงาม รอบบริเวณจุดชมวิว สามารถเป็นที่กางเต็นท์ได้มากกว่า ๕๐ เต็นท์ ด้วยสภาพอากาศที่หนาวเย็น สามารถชมแสงเดือน แสงดาว ในยามค่ำคืนได้
ประวัติความเป็นมา
เป็นบริเวรที่ตั้งสำนักงานและแปรรูปเหมืองตะกั่ว ที่ส่งไปขายยังต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันเหมืองแร่ดังกล่าวหมดสัมปทานไปแล้ว เป็นเวลากว่าสิบปี ปัจจุบันเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ ได้ตั้งเป็นจุดตรวจสกัด
ลักษณะเด่น
เป็นพื้นที่สูงสามารถมองเห็นพื้นที่ด้านล่างได้สวยงาม หน้าหนาวจะมองเห็นเป็นทะเลหมอก
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
สวนสุภัทราแลนด์ เป็นแหล่งรวบรวมไม้ผลเมืองร้อนไว้มากถึง25 ชนิด พื้นที่ 800 ไร่ เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ องุ่น ขนุน ลำไย มะเฟือง มะพร้าว ลองกอง สละ แก้วมังกร ชมพู่ มีผลไม้หลายอย่างและยังมีผักไฮโดรโพนิกส์ และการเลี้ยงผึ้งแล้ว
ระยอง
บุบเฟ่ต์ผลไม้ การทำกะราง ข้าวตังพื้นบ้าน การสานเสื่อคล้า รำตัดเด็ก
ระยอง
แหล่งเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ อนุรักษ์ม้าไทย อาชาบำบัด(สำหรับเด็กออทิสติก) ชมสวน ทานผลไม้สดๆจากสวน เกษตรอินทรีย์
จันทบุรี
หมู่บ้านที่รวมกลุ่มกันทำปลูกผักอินทรีย์ นักท่องเที่ยวสามารถเข้ามาชมและเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักจากเศษขยะ การทำปุ๋ยน้ำหมักจากหอยเชอรีย์ การปลูกผักอินทรีย์พันธ์พระราชทานจักรพรรณเพ็ญศิริ เข้ามาชมได้ทุกวัน โทร 08199896279
พะเยา
น้ำตกผาแดง มีสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง คือ จุดชมวิวเนินสววรค์ อุโมงค์ถ้ำ 3 มิติ และน้ำตกสะพานลาว
กาญจนบุรี
เป็นพื้นที่รอยต่ออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำให้พื้นที่บริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ และชาวบ้านที่นี่ทำสวนผลไม้ตามฤดูกาล เหมาะกับการท่องเที่ยวด้านธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีต้นไม้ขุดล้อม ขายกล้าพันธ์ไม้ และมีลานกางเต้น
สระบุรี
ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยสุพรรณบุรี เป็นวิสาหกิจชุมชนเกษตรพอเพียง อนุรักษ์พันธุ์กล้วยหายากในประเทศไทย ได้รวมสายพันธุ์กล้วยมากมายถึง 108 ชนิด โดยเฉพาะของสุพรรณบุรีเอง
สุพรรณบุรี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี ถือเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการ ฟื้นฟูป่าชายเลนจากนากุ้งร้างเป็นแห่งแรกในประเทศไทย เดิมทีเป็นนากุ้งที่ได้รับสัมปทาน อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองเก่า – คลองคอย ตำบลปากน้ำปราณ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด้วยน้ำพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินมาที่ปราณบุรี กรมป่าไม้ได้สนองพระราชดำริด้วยการยกเลิกสัมปทานนากุ้ง แล้วรวมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ พัฒนาป่าไม้ปากน้ำปราณบุรีอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พร้อมเร่งฟื้นฟูป่าชายเลนและกำหนด ให้เป็นพื้นที่เป้าหมายในการปลูกป่าและพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนในเวลาต่อมา
ประจวบคีรีขันธ์
สับปะรด ไอศกรีมสับปะรด น้ำสับปะรดสด
ระยอง
อาณาจักรสวนดอกไม้แห่งวังน้ำเขียว ‘ฟลอร่า พาร์ค’ อาณาจักรทุ่งดอกไม้นานาชนิดแห่งอำเภอวังน้ำเขียว ที่มีพื้นที่กว้างสุดลูกหูลูกตา ภายในมีดอกไม้เมืองหนาวสวยๆ ยังมีโซนโรส พาร์ค ที่เป็นสวนสวยเต็มไปด้วยดอกกุหลาบหลากสายพันธุ์ โดยจะได้พบกับสวนดอกไม้นานาพันธุ์ อุโมงค์ดอกไม้ กำแพงดอกไม้ และราชินีแห่งดอกไม้งาม รวมไปถึงพันธุ์ดอกไม้หายากที่สามารถเพาะพันธุ์ได้เฉพาะที่วังน้ำเขียวเท่านั้น
นครราชสีมา
สวนยายดา-เจ๊บุญชื่น เป็นสวนผลไม้ผลแบบผสมผสาน มีกิจกรรมชมสวนบุฟเฟต์ กินอิ่มนอนเล่นได้ทั้งวัน พร้อมส้มตำบุฟเฟต์ มีการบริการจัดคณะทัวร์ รับประทานอาหารในสวน มีผลิตภัณฑ์ทุเรียนทอด และทุเรียนกวนจากสวนยายดา ทำเอง สูตรลับเฉพาะ กรอบ อร่อย มีกะปิระยองแท้ ทำเองแบบดั้งเดิม และมีการจำหน่ายผลไม้สดๆ โปรแกรมการท่องเที่ยว - เดือน ธันวาคม-มกราคม มาชมดอกทุเรียนบาน ดูวิธีผสมเกสรทุเรียน เงาะ สละ   - เดือน กุมภาพันธ์-มีนาคม เป็นฤดูมะปรางหวานมะยงชิด       - เดือน เมษายน - มิถุนายน จะเป็นช่วงที่ผลไม้ออกพร้อมกันมากที่สุด กิจกรรมบุฟเฟ่ต์ผลไม้ เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ (พร้อมระยะทาง/กม.)  - หาดแม่รำพึง 8 กม., หาดสวนสน 15 กม.,  สถานีแสดงพันธุ์สัตว์น้ำระยอง 13 กม., ตลาดกลางผลไม้ตะพง 6 กม., ท่าเรือไปเกาะเสม็ด 12 กม. สินค้าวิสาหกิจชุมชนในชุมชน ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร, ทุเรียนทอด, กะปิคุณภาพ, ผลไม้คุณภาพ
ระยอง