คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
สวนบ้านเรา
สวนบ้านเรา ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
อยู่ในเวลาปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
สวนบ้านเรา มีทุเรียนได้ลิ้มลองรสชาติที่แท้จริงของทุเรียนพันธุ์หายากเหล่านั้น ซึ่งมีน้อยคนนักจะได้สัมผัส สวนบ้านเรามีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะทำทุเรียนทุกสายพันธุ์ให้มีคุณภาพที่ดีที่สุด ให้สมกับเป็นผลไม้ชั้นสูงที่ถูกขนานนามว่าเป็น “ราชาแห่งผลไม้”
ประวัติความเป็นมา
สวนบ้านเราตั้งอยู่ในหุบเขาเล็กๆ ของหมู่ 8 ต.กระแสบน อ.แกลง จ.ระยอง มีทุเรียนกว่า 1,600 ต้น ปลูกตามไหล่เขาบนเนื้อที่กว่า 100 ไร่ มีทุเรียนเกือบทุกสายพันธุ์ที่มีในประเทศไทย ซึ่งได้รวบรวมไว้แล้วกว่า 100 สายพันธุ์ สวนบ้านเรามีความตั้งใจที่จะอนุรักษ์พันธุ์ทุเรียนของไทยเอาไว้ให้ได้มากที่สุด โดยไม่คำนึงถึงว่าจะเป็นที่ต้องการของตลาดหรือไม่ เพียงแค่ต้องการไม่ให้พันธุ์ทุเรียนที่มีค่าของไทยเหล่านั้นสูญหายหายไป ต้องการให้คนรักทุเรียนชอบกินทุเรียนได้ลิ้มลองรสชาติที่แท้จริงของทุเรียนพันธุ์หายากเหล่านั้น ซึ่งมีน้อยคนนักจะได้สัมผัส สวนบ้านเรามีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะทำทุเรียนทุกสายพันธุ์ให้มีคุณภาพที่ดีที่สุด ให้สมกับเป็นผลไม้ชั้นสูงที่ถูกขนานนามว่าเป็น “ราชาแห่งผลไม้”
ลักษณะเด่น
- มีทุเรียนหลากหลายสายพันธุ์ให้รับประทาน มากกว่า 100 ชนิด
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
เป็นกลุ่มแม่บ้านที่ทอผ้ามัดหมี่ย้อมครามใช้สีจากธรรมชาติ ถือเป็นสินค้า OTOP นำสิ่งที่บ้านนาข่า กรุงเทพ บ้านเชียง และทอตามที่มีออเดอร์จากลูกค้าสั่งมา จึงถือเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนตำบลบ้านแดง
อุดรธานี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 พรรษา ในปี พ.ศ. 2539 บนเนื้อที่ 500 ไร่ ณ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
ปทุมธานี
สวนผลไม้ที่ได้มาตรฐาน GAP เเละเป็นสวนทุเรียนที่มีอายุไม่ตำกว่า 40 ปี ทุเรียนมีรสชาติดี โดยส่วนใหญ่ผลผลิตของสวน จะเป็นทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เเละทางสวนยังเปิดให้ชมสวนเเละชิมผลไม้ในบรรยากาศธรรมชาติ ร่มรื่น รอบล้อมไปด้วยผลไม้ไทย
ระยอง
โครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมหนองหว้า เป็นโครงการที่รเริ่มดำเนินการโดยเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งได้รับความร่วมมือสนับสนุนจาดส่วนราชการ อำเภอพนมสารคาม และธนาคารกรุงเทพ จำกัด เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นมา เพื่่อช่วยเหลือเกษตรที่มีฐานะยากจน ไม่มีที่ทำกินเป็นของตนเอง ให้มีโอกาสได้ประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์ ควบคู้ไปกับเพราะปลูก การดำเนินงานของโครงการ จัดเป็นระบบเบ็ดเสร็จครบวงจร เพื่อให้การพัฒนาอาชีพของกระเกษตรกรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ฉะเชิงเทรา
สวนผลไม้ที่ร่มรื่น ได้เห็นต้นทุเรียน, ต้นมังคุด ฯลฯ ที่หลายคนไม่เคยได้เห็นมาก่อน มีผลไม้สดๆ จากสวนให้เลือกซื้อกันด้วย อีกอย่างสวนนี้มีเงาะเขียวขายด้วยนะ เค้าบอกว่าอร่อยมาก พิกัด https://goo.gl/maps/GXxffNrXUqdwF7sx5
สระบุรี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
พระธาตุกู่จาน ตั้งอยู่ภายในวัดบ้านกู่จานเป็นปูชนียสถานสำคัญ ประชาชนชาวเมืองยโสธรและจังหวัดใกล้เคียงต่างสักการะบูชา ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงบัวเหลี่ยมรูปทรงคล้ายพระธาตุพนมแต่มีขนาดเล็กกว่า ส่วนของฐานล่างรูปบัวคว่ำบัวหงายเตี้ยๆ รองรับฐานสูงรูปสี่เหลี่ยมเรียบต่อด้วยทรงบัวเหลี่ยม ประดับตกแต่งด้วยลวดลายประณีตสวยงามตามโบราณ และยอดพระธาตุทรงเหลี่ยมรองรับฉัตรซึ่งเป็นยอดบนสุด จากหลักฐานน่าจะสร้างขึ้นตามคตินิยมในการสร้างพระธาตุทั่วไป คือ เพื่อการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ แต่ละปีจะมีการจัดพิธีสรงน้ำเพื่อรักษาประเพณีที่ดีงามเอาไว้ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม องค์พระธาตุกู่จาน กว้าง 5.10 เมตร สูง 15 เมตร ที่ตั้ง ตั้งอยู่ที่บ้านงิ้ว กลางลานวัดกู่จาน ตำบลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ซึ่งดูลักษณะแล้วคล้ายคลึงกับองค์พระธาตุพนม ต่างกันเพียงขนาดซึ่งพระธาตุกู่จานมี ขนาดเล็กกว่า ความสำคัญต่อชุมชน : เป็นที่สักการะของชาวเมืองยโสธรและจังหวัดใกล้เคียง ทุกๆ ปี ชาวตำบลกู่จานจะนำน้ำอบ น้ำหอมไป ทำพิธีสรงน้ำพระธาตุในช่วงเช้าของวัน เพ็ญ เดือน 6 ตอนบ่ายจะไปทำพิธีสรงน้ำ "กู่" หลังจากนั้นจะพากันไปที่หนองสระพัง เพื่อนำน้ำที่หนองสระพังมาทำพิธี สรงน้ำพระธาตุและใบเสมา ซึ่งพิธีกรรมดังกล่าวนี้ ต้องกระทำเป็นประจำทุกปี มีความเชื่อว่าหากไม่ทำพิธีดังกล่าวแล้วจะทำให้ ฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวบ้านกู่จานจึงได้ถือปฏิบัติพิธีนี้เป็นประจำ
ยโสธร
น้ำตกผาแดง มีสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง คือ จุดชมวิวเนินสววรค์ อุโมงค์ถ้ำ 3 มิติ และน้ำตกสะพานลาว
กาญจนบุรี
บริการบ้านพัก ลานกางเต็นท์ อาหาร ปั่นจักรยานชมสวนผลไม้ ท่องเที่ยวในชุมชน
ระยอง
กลุ่มเลี้ยงผึ้งบ้านปากแพรก ตั้งอยูตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง มีผลิตภัณฑ์แปรรูป/ของฝาก และยังสามารถศึกษาการเลี้ยงผึ้ง สำหรับคนที่สนใจการเลี้ยงผึ้ง
ระยอง
หมู่บ้านที่รวมกลุ่มกันทำปลูกผักอินทรีย์ นักท่องเที่ยวสามารถเข้ามาชมและเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักจากเศษขยะ การทำปุ๋ยน้ำหมักจากหอยเชอรีย์ การปลูกผักอินทรีย์พันธ์พระราชทานจักรพรรณเพ็ญศิริ เข้ามาชมได้ทุกวัน โทร 08199896279
พะเยา
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่พัก อาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร มีสวนสตรอเบอร์รี่ให้นักท่องเที่ยวได้ มีการจัดกิจกรรมท่องเที่ยงให้นักท่องเที่ยวได้เลือก ห้องพักคืนละ 1000 ห้องพัดลม มีชุดอาหารเช้าข้าวเหนียว + หมู + แจ่วอีสาน คนละ 100 บาท สตรอเบอร์รี่ กิโลละ 300 บาท
ขอนแก่น