คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
วนเกษตร (บ้านศานติธรรม) ศูนย์ศึกษาพัฒนาการสังคมหมู่บ้าน
วนเกษตร (บ้านศานติธรรม) ศูนย์ศึกษาพัฒนาการสังคมหมู่บ้าน ตำบลลาดกระทิง อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
อยู่ในเวลาปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
ศูนย์ศึกษาพัฒนาการสังคมหมู่บ้าน(วนเกษตร) หรือ บ้านศานติธรรม ภายในอาณาบริเวณเกือบ 10 ไร่ มีพันะุ์ไม้กว่า 700-800 ชนิด เป็นสมุนไพรรักษาโรคต่างๆ ภายในมีเรือนไม้แบบไทยมุงด้วยกระเบื้องว่าว ใต้ถุนสูงสำหรับประชุมหรือบรรยาย ชั้นบนใช้เก็บและแสดงเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้านวัตถุโบราณ ของใช้รุ่นเก่าต่างๆ ด้านหลังบ้านมียุ้งข้าวจำลองและอุปกรณ์นวดข้าว สีข้าว บริเวณบ้านส่วนหนึ่งจัดไว้เป็นที่สำหรับตั้งค่ายพักแรมสำหรับเยาวชน มีลานสันทนาการ และบริเวณทำกิจกรรม สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ คุณวิบูลย์ เข็มเฉลิม
ประวัติความเป็นมา
ศูนย์ศึกษาพัฒนาการสังคมหมู่บ้าน (วนเกษตร) หรือ บ้านศานติธรรม ภายในอาณาบริเวณเกือบ 10 ไร่ มีพันะุ์ไม้กว่า 700-800 ชนิด เป็นสมุนไพรรักษาโรคต่างๆ ภายในมีเรือนไม้แบบไทยมุงด้วยกระเบื้องว่าว ใต้ถุนสูงสำหรับประชุม หรือ บรรยาย ชั้นบนใช้เก็บ และแสดงเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้านวัตถุโบราณ ของใช้รุ่นเก่าต่างๆ ด้านหลังบ้านมียุ้งข้าวจำลอง และอุปกรณ์นวดข้าว สีข้าว บริเวณบ้านส่วนหนึ่งจัดไว้เป็นที่สำหรับตั้งค่ายพักแรมสำหรับเยาวชน มีลานสันทนาการ และบริเวณทำกิจกรรม สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ คุณวิบูลย์ เข็มเฉลิม
ลักษณะเด่น
แสดงเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้านวัตถุโบราณ ของใช้รุ่นเก่า ต่างๆ ด้านหลังร้านมี ยุ้งข้าวจำลองและอุปกรณ์นวดข้าว ศูนย์ศึกษาพัฒนาการสังคมหมู่บ้านวนเกษตรหรือ บ้านศานติธรรม วันเปิดทำการ : ทุกวัน เวลาเปิดทำการ: 08.00 - 16.00 น. ตั้งอยู่ตำบลลาดกระทิง ภายในอาณาบริเวณเกือบ 10 ไร่ มีพันธุ์ไม้กว่า 700-800ชนิด เป็นสมุนไพรรักษาโรคต่างๆ ภายในมีเรือนไม้แบบไทยมุงด้วยกระเบื้องว่าว ใต้ถุนสูงสำหรับประชุมหรือบรรยาย ชั้นบนใช้เก็บและแสดงเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้านวัตถุโบราณ ของใช้รุ่นเก่าต่างๆ ด้านหลังบ้านมียุ้งข้าวจำลองและอุปกรณ์นวดข้าว สีข้าว บริเวณบ้านส่วนหนึ่งจัดไว้เป็นที่สำหรับตั้งค่ายพักแรมสำหรับเยาวชน มีลานสันทนาการ และบริเวณทำกิจกรรม เหมาะสำหรับผู้สนใจศึกษาวิถีชีวิตการพึ่งพาตนเองแบบธรรมชาติ
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
ภูหมากพริกเป็นป่าชุมชน ในเขตตำบลกุดชุม อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร อดีตพื้นที่บนภูสวนหนึ่งเคยเป็นแหล่งทำสวนพริกจนมีสภาพทรุดโทรม ต่อมาจึงได้รับการฟื้นฟูปลูกป่าให้กลับมาเขียวขจีอีกครั้ง หลังมีการดูแลอย่างจริงจังจากสำนักสงฆ์ภูหมากพริก ซึ่งพัฒนากลายเป็นวัดภูหมากพริกในเวลาต่อมาและปัจจุบันวัดกำลังอยู่ในระหว่างสร้างพระอุโบสถครึ่งไม้ครึ่งปูนหลังใหม่ท่ามกลางความร่มรื่นของธรรมชาติ คาดว่าเมื่อเสร็จสิ้นจะมีความสวยงามอย่างมากบนวัดภูหมากพริกมีความสงบร่มเย็น เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมที่ร่มรื่น นอกจากนี้ยังมีจุดชมวิวเล็กๆ ซึ่งผู้ที่ขึ้นไปเยี่ยมชมวัดสามารถแวะไปได้อีกด้วย ทางเข้าจุดชมวิวอาจมองลำบากสักนิด สามารถสอบถามทางได้จากพระสงฆ์ภายในวัด
ยโสธร
ไร่สุขถวิล อินทผลัมเมืองช้าง จังหวัดสุรินทร์ 164 หมู่ 5 ตำบล หนองระฆัง อำเภอ สนม จังหวัด สุรินทร์ 32160
สุรินทร์
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดพะเยา (เกษตรที่สูง) ตั้งอยู่บนความสูงจากน้ำทะเล 908 เมตร มีสภาพภูมิอากาศที่ค่อนข้างหนาวเย็นตลอดทั้งปี สภาพพื้นที่เป็นสันเขา ตั้งอยู่ในบริเวณวนอุทยานภูลังกา จากที่ตั้งศูนย์สามารถมองเห็นทิวทัศน์ยอดดอยภูลังกา ซึ่งมีตำนานเล่าขานว่า ในอดีตช่วงก่อนวันพระขึ้น 15 ค่ำ ชาวเขาด้านล่างซึ่งเป็นชนเผ่าเมี่ยน จะมองเห็นแสงสว่างขาวนวลส่องเป็นประกายเหมือนแท่งหน่อไม้คู่ บนยอดภูลังกา ทำให้ชาวบ้านบางคนเกิดความสงสัย บางคนถึงขนาดมานอนค้างอ้างแรมกันข้างบนภูลังกา แต่ก็ไม่พบอะไร แต่พอกลับลงไปก็พบแสงสว่างที่ว่านั้นในวันพระ ขึ้น 15 ค่ำอีก ชาวบ้านแถบนี้จึงเชื่อกันว่า แสงเหล่านั้นเกิดจากการชุมนุมกันของเหล่าเทวดา เชื่อว่า บนภูลังกาแห่งนี้ เป็นที่สถิตของเทพ เทวดา ทุกๆปีจะต้องทำพิธีเซ่นไหว้ เพื่อให้ท่านช่วยปกปักรักษา ชาวเมี่ยนจึงเรียก ภูลังกาแห่งนี้ว่า “ฟินจาเบาะ” หรือ “แท่นเทวดา” โปรแกรมการท่องเที่ยว : 1 วัน - ช่วงเช้า : สัมผัสอากาศหนาว ชมทิวทัศน์ดอยภูลังกา เยี่ยมชมแปลงเรียนรู้ภายในศูนย์ฯ เช่น แปลงองุ่น อาโวคาโด้ การปลูกพืชผักในโรงเรือน และแปลงเกษตรกร - ช่วงบ่าย : จิ๊บกาแฟ และชาเจียวกูหลาน ที่จุดชมวิวผาช้างน้อย ภูลังการีสอร์ท Magic Mountain บ้านทะเลหมอก (ที่พักหลักร้อยวิวหลักล้าน) และเยี่ยมชมโครงการหลวงปังค่า 2 วัน วันที่ 1 - ช่วงเช้า : ไหว้พระขอพรวัดนันตาราม และวัดพระนั่งดิน - ช่วงบ่าย : ชมทิวทัศน์ดอยภูลังกา เยี่ยมชมแปลงเรียนรู้ภายในศูนย์ฯ เช่น แปลงองุ่น อาโวคาโด้ การปลูกพืชผักในโรงเรือน และแปลงเกษตรกร วันที่ 2 - ช่วงเช้า : จิ๊บกาแฟ และชาเจียวกูหลาน ที่จุดชมวิวผาช้างน้อย ภูลังการีสอร์ท Magic Mountain บ้านทะเลหมอก (ที่พักหลักร้อยวิวหลักล้าน) และเยี่ยมชมอุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน - ช่วงบ่าย : เยี่ยมชมโครงการหลวงปังค่า และยอดดอยภูลังกา เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ : '- วัดนันตาราม ระยะห่างจากศูนย์ฯ ประมาณ 42.3 กิโลเมตร - วัดพระนั่งดิน ระยะห่างจากศูนย์ฯ ประมาณ 38 กิโลเมตร - โครงการหลวงปังค่า ระยะห่างจากศูนย์ฯ ประมาณ 21.8 กิโลเมตร - วนอุทยานภูลังกา ระยะห่างจากศูนย์ฯ ประมาณ 25 กิโลเมตร - จุดชมวิวผาช้างน้อย ภูลังการีสอร์ท Magic Mountain บ้านทะเลหมอก (ที่พักหลักร้อยวิวหลักล้าน) ระยะห่างจากศูนย์ฯ ประมาณ 6.9 กิโลเมตร - อุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน ระยะห่างจากศูนย์ฯ ประมาณ 16 กิโลเมตร
พะเยา
บ้านสวนอคิราห์ เกษตรตามรอยพ่อ ได้รับการจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริอำเภอปาย ซึ่งเป็นศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมบาถบพิตร และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อไปสู่ประชาชนในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนนำแนวคิดและหลักปฏิบัติไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริอำเภอปาย 2. ศูนย์เรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 4. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ด้านไร่นาสวนผสม ด้านปศุสัตว์ ด้านประมง 5. แปลงต้นแบบการผลิตพืชอินทรีย์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน 6. แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตามโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 7. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ประจำตำบลแม่ฮี้ 8. ศูนย์เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล บ้านสวนอคิราห์
แม่ฮ่องสอน
เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่ยังคงมีความเป็นธรรมชาติ และบริสุทธิ์ อบอุ่นไปด้วยวิถีชีวิตที่งดงามของชาวเขา ในช่วงเดือน ก.ย.-ต.ค. ซึ่งป็นฤดูทำนาข้าว นักท่องเที่ยวจะได้ชม
แม่ฮ่องสอน
เลี้ยงปูนาสร้างรายได้ ส่งขายในประเทศ-ต่างประเทศ เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้และอนุรักษ์ขยายพันธุ์ รวมทั้งแปรรูปปูนาไทย แหล่งเรียนรู้ส่งเสริมอาชีพเกษตรกร
กำแพงเพชร
ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน
ฉะเชิงเทรา
วังน้ำเขียว ขับผ่านแล้วเจอน้องไวโอเล็ต สีม่วงน่าถ่ายรูปมาก ไร่สตรอเบอรี่ฟ้าใส แต่ไม่ได้สนใจสตรอเบอรี่เลย แต่ถ้าสนใจเขามีให้เก็บจากต้นสดๆ
นครราชสีมา
เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เชื่อมโยงกับบ้านศาลาดิน
นครปฐม
สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงการเกษตร บริเวณภายในมีการตกแต่งและจัดสวนไว้อย่างสวยงาม เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวในการเข้าไปเที่ยวชมการเพาะปลูกพืชพรรณ ไม้ดอกเมืองหนาวต่างๆ มากมาย เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็น โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวที่จะมีนักท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากมายขึ้นไปเที่ยวดอยอ่างขางและมักจะแวะเข้าไปท่องเที่ยวยังศูนย์เกษตรฯ แห่งนี้ด้วย
เชียงใหม่
โครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมหนองหว้า เป็นโครงการที่รเริ่มดำเนินการโดยเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งได้รับความร่วมมือสนับสนุนจาดส่วนราชการ อำเภอพนมสารคาม และธนาคารกรุงเทพ จำกัด เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นมา เพื่่อช่วยเหลือเกษตรที่มีฐานะยากจน ไม่มีที่ทำกินเป็นของตนเอง ให้มีโอกาสได้ประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์ ควบคู้ไปกับเพราะปลูก การดำเนินงานของโครงการ จัดเป็นระบบเบ็ดเสร็จครบวงจร เพื่อให้การพัฒนาอาชีพของกระเกษตรกรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ฉะเชิงเทรา
สวนท่องเที่ยว ทุเรียนผลสดสินค้าแปรรูป
ระยอง